แสดงระเบียนรายการแบบย่อ

dc.contributor.authorศุภกาญจน์ ศิลปรัสมี
dc.contributor.authorจิรประไพ แก้วภราดัย
dc.contributor.authorชัชภรณ์ เฮ้งศิริ
dc.contributor.authorละมัย แสงเพ็ง
dc.contributor.otherโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
dc.date.accessioned2010-10-26T04:16:25Z
dc.date.available2010-10-26T04:16:25Z
dc.date.issued2005
dc.identifier.urihttps://library.thaibf.com/handle/023548404.11/122
dc.descriptionที่มา : ศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย. 2548. รายงานวิจัยนมแม่ ปี 2548. กรุงเทพฯ : ศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย. หน้า 77-83.
dc.descriptionงานวิจัยนี้ เป็นการวิจัยกับแม่หลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มสนับสนุนงานวิจัย ประกอบด้วย พยาบาลโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช และแม่อาสาในโครงการประสานสายใยคู่ใจนมแม่en_US
dc.description.abstractบทนำ : ประเทศไทยได้ดำเนินการสนับสนุนให้แม่หลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 จนถึงปัจจุบัน โดยมีเป้าหมายของประเทศที่จะให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมตนเองอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 30 แต่มีแม่เพียงร้อยละ 14.5 เท่านั้นที่สามารถให้นมแม่อย่างเดียวต่อเนื่องถึง 4 เดือน
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : เพื่อหาแนวทางเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนให้ได้ร้อยละ 30
dc.description.abstractวิธีการ : กลุ่มสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งประกอบด้วย พยาบาลของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช และแม่อาสาในโครงการประสานสายใยคู่ใจนมแม่ ติดตามเยี่ยมและช่วยเหลือแม่ให้เลี้ยงลูกด้วยนมตนเองจนสำเร็จเมื่อ 1, 2, 4 สัปดาห์และ 2, 4, 6 เดือนหลังคลอด โดยดำเนินการระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2548-พฤษภาคม พ.ศ.2549
dc.description.abstractผลการศึกษา : จากการติดตามแม่ 771 คน มีแม่เพียง 747 คน ที่สามารถติดตามได้จนถึง 6 เดือน โดยที่มีแม่กลุ่มเสี่ยง 496 คน ซึ่งเป็นแม่ทำงานนอกบ้าน แม่ที่มีปัญหาในการให้นมเด็กป่วย และเด็กที่ขณะจำหน่ายยังรับนมแม่ได้ไม่ดี อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในแม่ปกติและแม่กลุ่มเสี่ยงเท่ากับร้อยละ 92 และ 19 ตามลำดับ โดยทั้ง 2 กลุ่มมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
dc.description.abstractสรุป : ผลจากการศึกษาพบว่า การช่วยเหลือและคอยแก้ปัญหาให้แก่แม่หลังคลอดอย่างต่อเนื่อง จะช่วยเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และช่วยให้แม่สามารถให้นมลูกได้ยาวนานขึ้น
dc.description.sponsorshipสมาคมแม่บ้านสาธารณสุข
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
dc.format.extent8 หน้า
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isotha
dc.publisherมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
dc.relation.ispartofโครงการประสานสายใยคู่ใจนมแม่
dc.relation.ispartofseriesรายงานวิจัยนมแม่ ปี 2548
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/
dc.subjectโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
dc.subjectระยะเวลาในการให้นมบุตร (Duration of breast feeding)
dc.subject.otherการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ -- วิจัย (Breast feeding -- Research)
dc.subject.otherการให้นม (Lactation)
dc.subject.otherการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว (Exclusive breast feeding)
dc.subject.otherการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ -- นครศรีธรรมราช (Breast feeding -- Nakhorn Si Thammarat)
dc.titleการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในจังหวัดนครศรีธรรมราช = Exclusive breastfeeding in Nakhorn Si Thammarat, Thailand
dc.title.alternativeExclusive breastfeeding in Nakhorn Si Thammarat, Thailand
dc.typeText
dc.rights.holderมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
mods.genreบทความวิจัย
mods.location.physicalLocationมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
dc.rights.accessrightsPublic Accessen_US


แฟ้มในรายการข้อมูลนี้

Thumbnail

รายการข้อมูลนี้ปรากฎอยู่ในกลุ่มข้อมูลดังนี้

แสดงระเบียนรายการแบบย่อ

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
ยกเว้นจากที่ระบุไว้ สัญญาของรายการนี้อธิบายว่า ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)