แสดงระเบียนรายการแบบย่อ

dc.contributor.authorเบญจมาศ พระธานี
dc.contributor.authorบัณฑิต ถิ่นคำรพ
dc.contributor.authorปุญญพัฒน์ ไชยเมล์
dc.date.accessioned2010-10-25T07:15:56Z
dc.date.available2010-10-25T07:15:56Z
dc.date.issued2005
dc.identifier.urihttps://library.thaibf.com/handle/023548404.11/117
dc.descriptionที่มา : ศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย. 2548. รายงานวิจัยนมแม่ ปี 2548. กรุงเทพฯ : ศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย. หน้า 39-46.
dc.description.abstractบทนำ : เป็นที่ทราบกันดีว่ากรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดลองเชน (Longchain polyunsaturated fatty acids) ในน้ำนมแม่เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาของสมองและการมองเห็น แม้ว่ามีข้อมูลสนับสนุนว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการให้นมแม่กับการพัฒนาภาษา แต่ยังมีข้อโต้แย้งกันระหว่างความสัมพันธ์ดังกล่าว
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของนมแม่ต่อการลดความเสี่ยงต่อการมีพัฒนาการทางภาษาล่าช้าเมื่อเด็กอายุ 2 ปีในโครงการวิจัยเด็กระยะยาว (The Prospective Cohort Study of Thai Children: PCTC)
dc.description.abstractวิธีการ : ทำการศึกษา (ระยะเวลาในการให้นมแม่ อายุครรภ์ น้ำหนักแรกคลอด เพศ ลำดับการเกิด การพูดคำแรก และการเดินได้เองภายใน 1 ปี) และด้านสิ่งแวดล้อม (ระดับการศึกษาของมารดา และพื้นที่ที่ศึกษา อาชีพของมารดา จำนวนสมาชิกในครอบครัวเมื่อเด็กอายุ 1 ปี) ที่อาจมีผลต่อการพัฒนาภาษาล่าช้าของเด็กอายุ 2 ปี ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุโลจิสติก
dc.description.abstractผลการศึกษา : ปัจจัยที่มีผลในการลดความเสี่ยงต่อการพัฒนาภาษาล่าช้าคือ น้ำหนักเด็ก (> 2,500 กรัม) เพศ (หญิง) ลำดับการเกิด (ลำดับที่ 1 หรือ 2) การพูดคำแรกได้เมื่ออายุ 1 ปี การเดินได้เมื่ออายุ 1 ปี อาชีพมารดาและพื้นที่ที่ทำการศึกษา ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาและผลของนมแม่ต่อการพัฒนาภาษาล่าช้า
dc.description.abstractสรุป : บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางการแพทย์สามารถใช้ผลการศึกษาครั้งนี้ในการให้คำแนะนำพ่อแม่และวางแผนการรักษา การศึกษาครั้งต่อไปควรเน้นรายละเอียดของระยะเวลาและรูปแบบของการให้นมแม่อย่างชัดเจน เพื่อตอบคำถามว่า การให้นมแม่อย่างเดียว (exclusive breastfeeding) จะลดความเสี่ยงของการพัฒนาภาษาล่าช้าได้หรือไม่
dc.description.sponsorshipสมาคมแม่บ้านสาธารณสุข
dc.description.sponsorshipคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
dc.description.sponsorshipคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
dc.format.extent8 หน้า
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isotha
dc.publisherมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
dc.relation.ispartofseriesรายงานวิจัยนมแม่ ปี 2548
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/
dc.subjectกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดลองเชน (Longchain polyunsaturated fatty acids)
dc.subject.otherพัฒนาการของเด็ก -- วิจัย (Child development -- Research)
dc.subject.otherเด็ก -- ภาษา -- วิจัย (Children -- Language -- Research)
dc.subject.otherความบกพร่องทางภาษาในเด็ก (Language disorders in children)
dc.subject.otherการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ -- วิจัย (Breast feeding -- Research)
dc.titleการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดความเสี่ยงต่อการพัฒนาภาษาช้าในเด็กอายุ 2 ปี หรือไม่ = Does breastfeeding reduce risk of early language delay in children age 2 years?
dc.title.alternativeDoes breastfeeding reduce risk of early language delay in children age 2 years?
dc.typeText
dc.rights.holderมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
mods.genreบทความวิจัย
mods.location.physicalLocationมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
dc.rights.accessrightsPublic Accessen_US


แฟ้มในรายการข้อมูลนี้

Thumbnail

รายการข้อมูลนี้ปรากฎอยู่ในกลุ่มข้อมูลดังนี้

แสดงระเบียนรายการแบบย่อ

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
ยกเว้นจากที่ระบุไว้ สัญญาของรายการนี้อธิบายว่า ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)